ดูก่อน! แผลริมอ่อนคืออะไร อันตรายหรือไม่ รักษายังไงดีให้หาย ดูสาเหตุการเกิด ภาวะแทรกซ้อน และระยะเวลาในการรักษา
เอชไอวี คืออะไร? เอชไอวีคือไวรัสชนิดหนึ่งที่พอเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะค่อย ๆ ทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวของร่างกายไปเรื่อย ๆ จนทำให้ร่างกายไม่สามารถต้านเชื้อโรคได้ ทำให้ผู้ป่วยโรคนี้เกิดการติดเชื้อต่าง ๆ ได้ง่ายกว่าคนปกติหลายสิบเท่า เอชไอวี กับ เอดส์ ต่างกันอย่างไร? ชื่อเอชไอวีจะเป็นชื่อเรียกหลักของโรคนี้ เพราะไม่ว่าใครก็ตามที่ได้รับเชื้อจะเริ่มจากการเป็นเอชไอวีก่อน และหากไม่ได้รักษาจนร่างกายเกิดติดโรคแทรกซ้อนขึ้น ถึงจะถูกวินิจฉัยว่าเป็นเอดส์ ซึ่งอาจต้องใช้เวลาหลายปีกว่าจะข้ามจากเอชไอวีเป็นเอดส์ ทำให้โรคเอดส์มีอีกชื่อหนึ่งคือโรคเอชไอวีระยะสุดท้าย เอชไอวี กับ ซิฟิลิส สองโรคนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันพอสมควร เพราะการติดเชื้อตัวใดตัวหนึ่งจะทำให้โอกาสติดอีกโรคเพิ่มขึ้นหลายสิบเท่า โดยมีสาเหตุมาจากแผลของโรคซิฟิลิสที่ทำให้เชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย หรือโรคเอชไอวีที่ทำให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงและติดเชื้อซิฟิลิสง่ายขึ้น นอกจากซิฟิลิสแล้ว ก็ยังมีโรคอื่น เช่น หนองในแท้ หนองในเทียม ฝีมะม่วง แผลริมอ่อน หูดหงอนไก่ ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซี ที่ติดได้ง่ายขึ้นเช่นกันหากมีเชื้อเอชไอวีอยู่ เอชไอวีเกิดจากอะไร เอชไอวีเกิดจากการติดเชื้อไวรัสชื่อว่า Human immunodeficiency virus ที่เข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวของร่างกาย และเป็นเหตุทำให้ทำเชื้อต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้นหลายเท่าตัว อาการของเอชไอวี เอชไอวีระยะแรกส่วนมากจะไม่แสดงอาการใด ๆ ที่เห็นได้ชัด เพราะเอชไอวีเพิ่งจะเข้าสู่ร่างกายได้ไม่นาน และจำนวนเม็ดเลือดขาวยังมีเพียงพออยู่ แต่ถ้ามีอาการเกิดขึ้น…
หูดหงอนไก่คืออะไร? หูดหงอนไก่ หรือ โรคหงอนไก่ (Anogenital wart, Condyloma acuminata)เป็นหูดชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเป็นติ่งของผิวหนังที่ยื่นออกมาและมีลักษณะคล้ายดอกกะหล่ำ โดยส่วนมากจะขึ้นได้ที่บริเวณอวัยวะเพศ บางคนจะมีตุ่มขึ้นบริเวณปากมดลูกก่อนซึ่งแสดงถึงอาการเริ่มต้น แต่ในบางรายสามารถขึ้นที่ทวารได้ สาเหตุการเกิดหูดหงอนไก่? หูดหงอนไก่เกิดจากเชื้อไวรัส HPV (Human Papilloma Virus) ที่ไปแฝงตัวอยู่บริเวณใต้ผิวหนังและทำให้เกิดเป็นหูดขึ้น หูดหงอนไก่ติดต่อได้ทางไหน? เนื่องจากบริเวณที่หูดหงอนไก่มีอาการส่วนมากจะเป็นบริเวณอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง ทำให้โรคนี้ส่วนมากติดต่อผ่านเพศสัมพันธ์มากกว่า แต่ก็มีกรณีการติดเชื้อที่บริเวณอื่นเช่น ลิ้น หรือ โพรงจมูก ได้เหมือนกัน หูดหงอนไก่อันตรายไหม? โดยตัวโรคแล้วถือว่าไม่อันตราย เพราะอาการของโรคจะทำให้เกิดภาพที่อาจดูไม่พึงประสงค์เท่านั้น แต่พอรักษาอย่างถูกต้องอาการนี้ก็จะหายไปและไม่ทำให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อร่างกาย แต่ในหลาย ๆ ครั้งโรคนี้จะเป็นโรคที่รักษาหายยาก และบางรายอาจต้องใช้เวลาเป็นปี ๆ ในการรักษา หูดหงอนไก่ระยะฟักตัว? โรคหูดหงอนไก่จะมีระยะฝักตัวประมาณ 2-3 เดือนโดยเฉลี่ย แต่บางรายอาจไม่แสดงอาการใด ๆ ไปจนถึง 8 เดือน หูดหงอนไก่ อาการเริ่มต้น หูดหงอนไก่ชาย และ หูดหงอนไก่หญิง จะมีอาการเหมือนกันคือมีลักษณะคล้ายติ่ง หรือตุ่มขึ้นในบริเวณที่ใกล้เคียงกับอวัยวะเพศ หรือบริเวณอวัยวะเพศโดยตรง ส่วนมากไม่มีอาการคัน ไม่ว่าจะเป็นวิธีรักษาหูดหงอนไก่ในผู้หญิง…
หลายคนอาจเคยได้ยินเกี่ยวกับโรคเริม (Herpes) ว่าเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์ แต่ในความเป็นจริงแล้วโรคเริมเกิดจากการสัมผัสรอยโรคก็สามารถติดเชื้อได้เช่นกัน และโรคเริมนี้สามารถขึ้นได้ทั้งที่จมูก ปาก และอวัยวะเพศ แต่ก็ยังมีความแตกต่างกันอยู่บ้าง ซึ่งจะแตกต่างกันอย่างไรนั้น เรามาทำความรู้จักโรคเริมกันให้ชัดเจนกันได้ในบทความนี้เลย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องลักษณะของเริมที่จมูก สาเหตุ หรือความอันตรายของเริมที่จมูก และที่สำคัญคือจะสามารถรักษาและป้องกันการเกิดโรคเริมที่จมูกได้อย่างไร ไปดูกัน ลักษณะของเริมที่จมูก โรคเริมที่จมูก จะมีลักษณะเป็นแผลตุ่มพองเล็กๆ อาจขึ้นเป็นกลุ่มหรือมีหลายตุ่ม โดยอาจขึ้นที่จมูกหรือภายในจมูก เมื่อตุ่มน้ำแตกออกจะเกิดเป็นรอยแผลได้ ซึ่งถ้าปล่อยให้ตุ่มน้ำแตกออกก็ควรป้องกันให้ดี เพราะสามารถแพร่เชื้อติดต่อผู้อื่นได้ นอกจากนี้ ขณะที่เกิดโรคยังต้องระมัดระวังห้ามแกะ หรือเกาตุ่มพองโดยเด็ดขาด สามารถปล่อยทิ้งไว้ให้แผลแห้งไปเองได้ บางคนอาจมีเริมที่จมูกด้านในและมีอาการแสบร้อนบริเวณรอยโรค หรืออาจเป็นไข้ร่วมด้วย เนื่องจากปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันในร่างกายที่ต้องการรักษาความเจ็บป่วย หากเริมที่จมูกมีการเกิดซ้ำอาจมีแผลตุ่มน้ำขึ้นในบริเวณใกล้เคียงบริเวณเดิม มักจะมีอาการน้อยกว่าครั้งแรก ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยอาจมีอาการคันและปวดแสบปวดร้อนร่วมด้วย อ่านบทความที่เกี่ยวข้อง เริมที่ปากคืออะไร ทำยังไงถึงหาย รวมสาเหตุ อาการ วิธีรักษาและป้องกัน สาเหตุของการเกิดเริมที่จมูก การติดเชื้อเริมที่จมูกนั้นจะเป็นเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า Herpes simplex virus ชนิดที่ 2 ซึ่งจะเป็นการติดเชื้อบริเวณริมฝีปากและจมูก ลำคอเป็นหลัก ส่วนสำหรับคนที่เพิ่งติดเชื้อเริมเป็นครั้งแรกอาจติดได้จากการสัมผัสรอยโรคหรือน้ำเหลืองที่ผิวหนัง โดยบริเวณปาก จมูก ตาและอวัยวะเพศเป็นบริเวณที่สามารถติดเชื้อได้ง่ายเมื่อได้รับการสัมผัสหรือมีช่องทางให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ ดังนั้น หากผิวหนังมีบาดแผลและได้สัมผัสเชื้อก็สามารถติดเชื้อได้…
มีแผลบวมแดง มีตุ่มพองมีน้ำใสๆ และรู้สึกคันขึ้นบริเวณริมฝีปาก แบบนี้ใช่อาการของเริมที่ปากหรือไม่ แล้วจะรักษาอย่างไร อันตรายไหม จะหายขาดได้อย่างไร [บททความนี้มีคำตอบ]
โรคติดต่อทางผิวหนังเพียงสัมผัสก็เป็นได้อย่าง “หูดข้าวสุก” มีลักษณะเป็นอย่างไร อันตรายหรือไม่ ต้องดูแลรักษาหรือป้องกันอย่างไร รวมคำตอบไว้ที่นี่แล้ว
ตรวจ HIV ดีไหม ถ้ามีโอกาสเสี่ยงจะติด HIV สามารถตรวจได้ด้วยวิธีไหนบ้าง และจะเข้ารับการตรวจได้ที่ไหน และจะรู้ผลได้ในกี่วัน
หนองในเทียมคืออะไร อันตรายหรือไม่ มีสาเหตุการเกิดโรคจากอะไร ถ้าเป็นแล้วจะดูแล รักษาอย่างไร มีอาการเหมือนหนองในแท้หรือไม่ ดูวิธีป้องกันได้ที่นี่
STD หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คืออะไร การมีเพศสัมพันธ์โดยที่ไม่ได้ป้องกัน มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ STD ย่อมาจาก Sexually Transmitted Disease ซึ่งมักตรวจพบได้ทุกเพศ ทุกวัย ซึ่งวันนี้ในประเทศไทยมีจำนวนคนที่ได้รับเชื้อ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แบบไม่รู้ตัว และไม่เคยไปตรวจมาก่อนเป็นแสนราย โดยเฉพาะในวัยรุ่น วัยทำงานที่มีความคึกคะนอง ไม่ชอบการป้องกัน รวมถึงนิยมเปลี่ยนคู่นอนอยู่บ่อยๆ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันตัวเอง โดยมีแนวโน้มอายุน้อยลงเรื่อยๆ ประมาณ 15-16 ปี เลยทีเดียวอันสุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ STD คืออะไร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ โรค STD (Sexually Transmitted Diseases) หมายถึงโรคที่ติดต่อจากการมีเพศสัมพันธ์ อาจเรียกว่า กามโรค (Venereal disease) หรือ “วีดี” สามารถติดต่อได้ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศทางช่องคลอด ทวารหนัก หรือทางปาก กับผู้ที่มีเชื้อ ซึ่งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นั้นสามารถติดต่อได้จากการ สัมผัสสารคัดหลั่ง การติดต่อทางเลือด เป็นต้น บางชนิดสามารถแพร่จากแม่สู่ลูกได้ บางชนิดก็สามารถแพร่ผ่านทางการใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน การใช้สิ่งของที่สัมผัสเลือด…
ยาต้านไวรัส HIV คืออะไร รวมทุกอย่างที่คุณต้องรู้เอาไว้ที่นี้แล้ว